ข้อมูลโครงการหรือกิจกรรมการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาที่ตอบสนองความต้องการและสร้างประโยชนีให้แก่ชุมชนสังคมและประเทศ ประจำปี 2567
ดังรายละเอียดต่อไปนี้
ตารางแสดงภาพรวมโครงการบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ประจำปี 2567 แยกตามแผนงาน ดังนี้
แผนงานโครงการ | แผนคลินิกเทคโนโลยี | แผนงานความร่วมมือโครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน (ตามแนวทางคูปองวิทย์เพื่อโอทอป) | แผนงานโครงการออมสินยุวพัฒน์รักษ์ถิ่น 2567 | แผนงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ | แผนโครงการผลักดันเทคโนโลยี นวัตกรรมสู่ชุมชน ตามเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน | แผนโครงการขับเคลื่อนกลไกการพัฒนาองค์ความรู้เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต | แผนโครงการพัฒนากำลังคน สร้างอาชีพ ลดความเหลื่อมล้ำ บนพื้นที่สูง |
---|---|---|---|---|---|---|---|
จำนวน | 24 | 2 | 6 | 30 | 18 | 14 | 29 |
เงิน (บาท) | 4,835,370 | 300,000 | 700,000 | 4,500,000 | 1,966,510 | 1,947,960 | 3,780,000 |
ผลการให้บริการทางวิชาการ คือ ยกระดับการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้กับชุมชนจำนวน 24 โครงการ
ประกอบด้วย โครงการภายใต้แผลงานดังนี้
1. บริการรับคำปรึกษาและแก้ไขปัญหาด้านเทคโนโลยี พร้อมเผยแพร่ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
2. นวัตกรรมการจัดการท่องเที่ยวฟาร์มสเตย์ หมู่บ้านทุ่งละคร ตำบลกึ๊ดช้าง อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่
3. ศูนย์การเรียนรู้เฮือนหลวงมหาวรรณ์ แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมร่วมสมัย
4. การส่งเสริมศักยภาพวิสาหกิจชุมชนกาแฟดอยขุนช่างเคี่ยนบนฐานอัตลักษณ์ท้องถิ่นด้วยแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์
5. เมืองคองโมเดล หมู่บ้านนวัตกรรมเพื่อการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
6. การให้คำปรึกษาและบริการข้อมูลเทคโนโลยีแก่ชุมชน
7. โครงการการบริการให้คำปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยี
8. บริการให้คำปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยี
9. Hug Green (ฮักกรีน)
10. หมู่บ้านส้มโอปลอดภัยนาแก้ว
11. หมู่บ้านเกษตรอินทรีย์วิถีคนลำปางหลวง (Food Bank ลำปางหลวง)
12. โครงการบริการให้คำปรึกษาและบริการข้อมูลเทคโนโลยีแก่ชุมชน
13. โครงการพัฒนาและยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์เครื่องจักสาน วิสาหกิจชุมชนเครื่องจักสานบ้านลานตาเกลี้ยง
14. บริการให้คำปรึกษาข้อมูลเทคโนโลยีและประชาสัมพันธ์คลินิกเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ 2567
15. รักษ์ปุยคำ รักผืนป่า สร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ด้วยวัสดุธรรมชาติ
16. เพิ่มศักยภาพธุรกิจชุมชน “โครงการอ้อยคั้นน้ำตั้งตัว”
17. ยกระดับศักยภาพธุรกิจชุมชนหัตถกรรมจักสานไม้ไผ่ด้วยเทคโนโลยีนวัตกรรมสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
18. การพัฒนาสมุนไพรพลูคาวสมุนไพรพื้นบ้านล้านนาสู่มาตรฐานสินค้าปลอดภัย
19. โครงการบริการให้คำปรึกษา แก้ไขปัญหา และเผยแพร่ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และนวัตกรรม
20. โครงการยกระดับผลิตภัณฑ์อาหารเชิงสุขภาพและเชิงหน้าที่จากเห็ดด้วยกระบวนการผลิตที่ได้มาตรฐานเพื่อเข้าสู่ตลาดวีแกน
21. การยกระดับหมู่บ้านปูผาด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ บ้านห้วยหาดและบ้านหลักลาย ตำบลอวน อำเภอปัว จังหวัดน่าน
22. การเพิ่มศักยภาพการผลิตและการตลาดแพะขุนต้นตำหรับ “แพะขุนล่องน่าน” : บูรณาการใช้ผลงานวิจัยและนวัตกรรมร่วมกับกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงแพะตำบลส้าน จังหวัดน่าน
23. ส่งเสริมการผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากจิ้งหรีดด้วยวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และนวัตรกรรมแบบครบวงจร
24. โครงการเพิ่มศักยภาพการผลิตและการตลาดผลิตภัณฑ์จากปลานิลแม่สา จ.น่าน
ผลการให้บริการทางวิชาการ คือ ยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชนด้านผ้า เครื่องแต่งกายร่วมสมัย และมาตรฐานผ้าฝ้ายทอมือย้อมฮ่อมและสีธรรมชาติ
ประกอบด้วย โครงการภายใต้แผลงานดังนี้
1. โครงการนวัตกรรมการทอผ้าและการย้อมสีธรรมชาติสู่การพัฒนาผลิตภัณฑ์เสื้อผ้าเครื่องแต่งกายร่วมสมัย
2. โครงการการพัฒนาและออกแบบบรรจุภัณฑ์ในการยื่นขอมาตรฐานผ้าฝ้ายทอมือย้อมห้อมและสีธรรมชาติ
ผลการให้บริการทางวิชาการ คือ ยกระดับสถานประกอบการระดับวิสาหกิจชุมชนที่บูรณาการกับภูมิปัญญาท้องถิ่น
ประกอบด้วย โครงการภายใต้แผลงานดังนี้
1. โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากกากหม่อน วิสาหกิจชุมชนผลิตภัณฑ์แปรรูปไทยลั๊วะบ้านสะเกี้ยง ต.ขุนน่าน อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.น่าน
2. โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์เพื่อการเชื่อมโยงการท่องเที่ยวชุมชนทากาศวิลเลจ อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน แม่สูนน้อย : แอ่วม่วนใจ๋ แบบไร้คาร์บอน
3. การพัฒนาช็อคโกแลตกลุ่มวิสาหกิจชุมชนศูนย์เรียนรู้ แปรรูปโกโก้ดอย ต.เชิงดอย อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่
4. แม่สูนน้อย : แอ่วม่วนใจ๋ แบบไร้คาร์บอน
5. โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์แบรนด์ปรุงนา (น้ำจิ้มปูหวานอบแห้ง)
6. กิจกรรมเสริมสร้างและพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น โครงการออมสินยุวพัฒน์รักษ์ถิ่น ปี 2567
ผลการให้บริการทางวิชาการ คือ การอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริเพื่อใช้พัฒนาผลิตภัณฑ์เพิ่มมูลค่าที่สูงขึ้น
ประกอบด้วย โครงการภายใต้แผลงานดังนี้
1. โครงการการพัฒนาผลิตภัณฑ์แป้งขนมเข่งสำเร็จรูปจากมันพื้นบ้าน ทำให้สามารถขายได้ มี อย.รองรับ
2. โครงการการออกแบบและสร้างเครื่องหั่นมันพื้นบ้านเพื่อการแปรรูป
3. โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์มะเกี๋ยงเม็ดฟู่สู่ตลาดเชิงพานิชย์
4. โครงการการสร้างตราสินค้าและการสื่อสารการตลาดดิจิทัลผลิตภัณฑ์จาก อพ.สธ.
5. กิจกรรม โครงการการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารทดแทนเนื้อสัตว์ (Plant-based food) จากมันพื้นบ้าน
6. โครงการบริหารจัดการแผนงานภายใต้โครงการ อพ.สธ. - มทร.ล้านนา
7. โครงการศูนย์ประสานงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ. - มทร.ล้านนา)
8. โครงการการอนุรักษ์พืชในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชและพืชพื้นถิ่น
9. โครงการเก็บรวบรวมมันพื้นบ้านในเขตภาคเหนือเพื่อการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์มันพื้นบ้าน ปีที่ 5 : การเปรียบเทียบการเจริญเติบโตผลผลิต และคุณค่าทางโภชนาการ ระหว่าง หัวในดิน หัวอากาศ และกิ่งชำ
10. โครงการอนุรักษ์เชื้อพันธุกรรมพืชมรดก
11. โครงการการปลูกรักษาพันธุกรรมมะกิ้ง ปีที่ 1 : การศึกษาพืชองอาศัยมะกิ้ง
12. โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมขบเคียวโปรตีนและพลังงานสูง (Hight protein a Energy Bar) จากถั่ว งา ผสมมะกิ้ง แป้งมันพื้นบ้าน เสริมกลิ่นรสน้อยหน่าเครือ และมะเกี๋ยง
13. โครงการศึกษาการเจริญเติบโตในสภาพแปลงปลูกของต้นน้อยหน่าเครือและต้นตียฮุ้งดอย
14. โครงการการศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนาฟิล์มแป้งมันกลอยเพื่อใช้เป็นวัสดุปิดแผล
15. โครงการการศึกษาการดูดซับคาร์บอนของต้นไม้ กรณีศึกษาต้นไม้ในโครงการอนุรักษ์พันธุ์พืช
16. โครงการการเพิ่มศักยภาพมันเลือดด้วยการการสกัดสีสำหรับงานย้อมผ้า
17. โครงการศึกษาการใช้ประโยชน์หัวมันพื้นบ้านเป็นวัสดุคอมโพสิตชีวภาพสำหรับงานด้านการเกษตร
18. โครงการการศึกษาการใช้ประโยชน์มันเท้าช้างและมันเสาในการผลิตเป็นต้นแบบฟิล์มหอมอโรมาเธอราปี (Aroma Pocket)
19. โครงการสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
20. โครงการการประเมินมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนของต้นไม้ในพื้นที่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก และ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง
21. โครงการวิเคราะห์ปริมาณสาระสำคัญ ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ และปลูกรักษาสายพันธุ์มันพื้นบ้าน
22. โครงการการปรับปรุงคุณภาพมันป่า (มันไกว) โดยการหมักร่วมกับยีสต์เพื่อใช้เป็นอาหารไก่พื้นเมือง ประดู่หางดำ และการขยายผลความสำเร็จต่อชุมชนมลาบรีใหม่ บ้านห้วยลู่ ตำบลสะเนียน จังหวัดน่าน
23. โครงการศูนย์เรียนรู้ปลาต้นน้ำในจังหวัดน่าน ปีที่2
24. โครงการการศึกษาผลของอุณหภูมิต่อการเจริญเติบโตของปลาเลียหินที่เลี้ยงในระบบน้ำหมุนเวียนที่ควบคุม ด้วยระบบ IoT
25. โครงการการอนุรักษ์พันธุกรรมกล้วยไม้พื้นเมืองโดยวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื้อ
26. โครงการการพัฒนาผลิตภัณฑ์ซอฟคุกกี้จากมันป่าที่ลดค่าดัชนีน้ำตาลผสมกระบก
27. โครงการการใช้ประโยชน์จากมันพื้นบ้านเป็นอาหารไก่พื้นเมืองในจังหวัดพิษณุโลก ปีที่ 2
28. โครงการปลูกรักษามันพื้นบ้านเพื่อการอนุรักษ์ และศึกษาผลของวันปลูกต่อการเจริญเติบโตและ ผลผลิตมันพื้นบ้าน
29. โครงการโครงการศึกษาปริมาณ carbon สะสมของมะเกี๋ยงพันธุ์คัดเลือกในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก
30. กิจกรรม โครงการผลของการเสริมเนื้อมะเกี๋ยง (Cleistocalyx nervosum var. paniala) ในอาหารต่อการ เจริญเติบโตและสีของปลาทอง (Carassius auratus Linn.)
ผลการให้บริการทางวิชาการ คือ ยกระดับการนำเทคโนโลยีนวัตกรรมสู่ชุมชนเพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนในพื้นที่โครงการหลวงและชุมชนทั่วไป
ประกอบด้วย โครงการภายใต้แผลงานดังนี้
1. โครงการจัดทำแผนความร่วมมือและสร้างกลไกพัฒนาเครือข่าย เพื่อขับเคลื่อนกลุ่มเป้าหมายพื้นที่การดำเนินงาน ปี 2567
2. โครงการผลิตและเผยแพร่สื่อประชาสัมพันธ์ เพื่อการสื่อสารงานใต้ร่มพระบารมี มทร.ล้านนา
3. โครงการพัฒนากระบวนการจัดทำวารสารวิชาการรับใช้สังคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
4. โครงการศึกษารูปแบบและแนวทางการบริหารจัดการที่ดีสำหรับกลุ่มเกษตรกรการแปรรูป ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงหนองเขียว ตำบลเมืองนะ อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่
5. โครงการการพัฒนาระบบเปิดปิดคลุมดำอัตโนมัติที่มีการแสดงผลปัจจัยเพาะปลูกเบญจมาศด้วย IOT
6. การพัฒนาระบบติดตามข้อมูลและระบบสูบน้ำพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับพื้นที่เกษตรทฤษฎีใหม่ ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
7. โครงการเตรียมความพร้อมรับเสด็จ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เสด็จพระราชดำเนินมาทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจ ในพื้นที่จังหวัดน่าน
8. โครงการเตรียมพร้อมการรับเสด็จฯ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี ร่วมกับหน่วยงานภาคีเครือข่าย
9. การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารจากอะโวคาโดเพื่อส่งเสริมอาชีพและขับเคลื่อนการสร้างความเข้มแข็งกลุ่มแปรรูปอะโวคาโด ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงหนองเขียว ตำบลเมืองนะ อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่
10. โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการรุ่นเยาว์ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม ตามแนวทาง ปรัชญา
11. โครงการออกแบบและการพัฒนาแม่พิมพ์สำหรับการปั้มขึ้นรูปภาชนะจากใบสับปะรด ตำบนเสด็จ อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง
12. โครงการเขลางค์อินดิโก : การส่งเสริมการปลูกและการใช้ประโยชน์จากฮอมสู่การพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถกรรมชุมชนที่สร้างรายได้และอาชีพอย่างยั่งยืน
13. โครงการการพัฒนาผลิตภัณฑ์แคบหมูเคลือบผิวด้วยสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากพืชสมุนไพรในท้องถิ่น
14. โครงการการพัฒนาเครื่องคั่วกาแฟแบบลมร้อนขนาดเล็กรองรับการทดสอบคุณภาพกาแฟของชุมชนใน ภาคเหนือตอนบน
15. โครงการเพิ่มมูลค่าพืชสมุนไพรสู่ผลิตภัณฑ์เชิงพาณิชย์กรณี มะแขว่น
16. โครงการพัฒนาและเพิ่มมูลค่ากาแฟอาราบิก ภาคเหนือตอนบนด้วยกระบวนการสร้างอัตลักษณ์
17. โครงการบริหารจัดการโครงการผลิตเมล็ดพันธุ์และปรับปรุงพันธุ์พืชให้กับศูนย์พัฒนาพันธุ์พืชจักรพันธ์เพ็ญศิริ อ.แม่สาย จ.เชียงราย 2567
18. โครงการการพัฒนาผลิตภัณฑ์และสร้างความเข้มแข็งกลุ่มชุมชน ไทลื้อบ้านวังไผ่ เครือข่ายศูนย์พัฒนาโครงการหลวงหมอกจ๋าม จังหวัดเชียงใหม่
ผลการให้บริการทางวิชาการ คือ ยกระดับคุณภาพชีวิตด้วยกลไกพัฒนาองค์ความรู้ตามหลักแต่เศรษฐกิจพอเพียง
ประกอบด้วย โครงการภายใต้แผลงานดังนี้
1. โครงการพัฒนาพื้นที่เกษตรทฤษฎีใหม่ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อยกระดับศักยภาพพื้นที่และสร้างต้นแบบอยู่ดีมีสุข โดยการมีส่วนร่วมของมหาวิทยาลัยและชุมชน
2. โครงการเตรียมความพร้อมรับเสด็จ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เสด็จพระราชดำเนินมาทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจ ในพื้นที่จังหวัดน่าน
3. โครงการสนับสนุนการดำเนินงานศูนย์พัฒนาพันธุ์พืชจักรพันธ์เพ็ญศิริ
4. โครงการเตรียมความพร้อมรับเสด็จ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เสด็จพระราชดำเนินมาทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจ ในพื้นที่จังหวัดเชียงราย
5. นวัตกรรมชุดทดสอบสารเคมีตกค้างเบื้องต้น
6. การออกแบบและพัฒนาเครื่องแยกเมล็ดผักสำหรับการผลิตเมล็ดพันธุ์
7. การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์จากมะเขือเทศสู่เชิงพาณิชย์
8. การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลักดันงานวิจัยและนวัตกรรมสู่การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์โดยกลไก University Holding Company
9. โครงการนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการพัฒนาชุมชนต้นแบบการท่องเที่ยวคาร์บอนต่าผ่านกระบวนการการมีส่วนร่วมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตที่ยั่งยืน
10. โครงการศึกษาแนวทางการจัดการน้ำเพื่อความมั่นคงชุมชนและสังคม เทศบาลตำบลเม็งราย อำเภอพญาเม็งราย จังหวัดเชียงราย
11. โครงการการพัฒนาต้นแบบระบบสลัดน้ำผักด้วยระบบลมเย็นเพื่อสนับสนุนการแปรรูปผลิตภัณฑ์ : กรณีศึกษาวิสาหกิจชุมชนผักปลอดภัยจากสารพิษตำบลเกาะตาเลี้ยง อำเภอศรีโรง จังหวัดสุโขทัย
12. โครงการการใช้นวัตกรรมกระบวนการผลิตอาหารไก่ไข่ด้วยวัตถุดิบอาหารพื้นถิ่นตามศาสตร์ของพระราชา
13. โครงการการจัดเก็บข้อมูลเพื่อการพฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน โดยการประยุกต์ใช้ศาสตร์พระราชาชุมชนตำบลกง อำเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย
14. โครงการการพัฒนาต้นแบบเครื่องสูบน้ำแบบเคลื่อนที่ควบคุมด้วยระบบ IOT ใช้พลังงานไฟฟ้าจากโซล่าเซลล์ สำหรับเกษตร ตำบลบ้านกร่าง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
ผลการให้บริการทางวิชาการ คือ การพัฒนากำลังคนสร้างอาชีพลดความเหลื่อมล้ำบนพื้นที่สูง
ประกอบด้วย โครงการภายใต้แผลงานดังนี้
1. โครงการพัฒนาการบริหารจัดการฐานข้อมูลด้วยกลไกการติดตามและประเมินผลโครงการ ภายใต้การดำเนินงานของแผนงานใต้ร่มพระบารมี
2. โครงการผลิตและเผยแพร่สื่อประชาสัมพันธ์ เพื่อการสื่อสารงานใต้ร่มพระบารมี มทร.ล้านนา
3. โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศสำหรับบนิหารจัดการโครงการและส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน และยกระดับการเรียนรู้ของคนทุกช่วงวัย
4. โครงการวิจัยและพัฒนาตู้แช่แข็ง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเก็บรักษาวัตถุดิบบนพื้นที่ห่างไกล
5. โครงการศึกษาและพัฒนาสื่อนวัตกรรมส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อเสริมทักษะการฟังและพูดภาษาไทย กรณีศึกษา โรงเรียนล่องแพ อำเภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอน
6. โครงการพัฒนาศักยภาพบุคากรเพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการปฏิบัติงานอและสร้างเสริมบุคลากรให้มีศักยภาพสูง
7. โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาทักษะขั้นสูงด้านวิศวกรรมและงานช่าง ให้กับบุคลากรในพื้นที่โครงการหลวง (Up-Re-New Skill)
8. โครงการการบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าแบบผสมผสานระหว่างระบบผลิตไฟฟ้าพลังน้ำ และระบบผลิตไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์ พื้นที่พระราชดำริ ตำบลแม่ตื่น อำเภออมก๋อย ปี 2567
9. โครงการยกระดับและเพิ่มขีดความสามารถด้านวิจัยและพัฒนานวัตกรรมด้วยกระบวนการบูรณาการการเรียนการสอนร่วมกับงานวิจัยและบริการวิชาการ สำหรับบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุนรุ่นใหม่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
10. โครงการการพัฒนานวัตกรรมด้านการศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพเยาวชนในโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา
11. โครงการการพัฒนาฐานข้อมูลเพื่อขยายผลต้นแบบเครื่องมือวัดคุณภาพผลผลิตอะโวคาโด ในศูนย์พัฒนาโครงการหลวง โดยเทคนิคดูดกลืนแสงย่านใกล้อินฟราเรด สู่กลุ่มวิสาหกิจชุมชนพื้นที่ตำบลคีรีราษฎร์ อำเภอพบพระ จังหวัดตาก
12. โครงการขยายผลการพัฒนาหัตถกรรมผ้าทอย้อมสีธรรมชาติในพื้นที่ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมสู่เศรษฐกิจมูลค่าสูง
13. โครงการนวัตกรรมการขึ้นรูปผลิตภัณฑ์เซรามิกด้วยเครื่องปั้นแกนสไลด์ สำหรับพัฒนาทักษะขั้นสูงให้กับผู้ปฏิบัติงาน
14. โครงการพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์สู่การจัดการน้ำอย่างยั่งยืนในพื้นที่โครงการหลวง
15. โครงการการพัฒนาชุดป้อนต้นกัญชงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องแยกแกนกัญชงสำหรับกระบวนการผลิตเส้นใยจากกัญชง ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงห้วยเสี้ยว
16. โครงการพัฒนาต้นแบบชุดควบแน่น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพชุดกลั่นน้ำกุหลาบของสวนกุหลาบห้วยผักไผ่ ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงทุ่งเริง
17. โครงการการพัฒนาเครื่องคัดแยกเมล็ดควินัวระบบลมดูด
18. โครงการพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ด้านภาษาไทยในเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร จังหวัดตาก
19. โครงการการประยุกต์ใช้ระบบรดน้ำอัจฉริยะสำหรับไม้ผลอะโวคาโด
20. โครงการการออกแบบและสร้างเครื่องหยอดผลิตภัณฑ์กัมมี่เยลลี่
21. โครงการการออกแบบและสร้างเครื่องบรรจุไนโตรเจนเพื่อยืดอายุการเก็บรักษา ผลิตภัณฑ์กัมมี่เยลลี่
22. โครงการการพัฒนาต้นแบบสถานีตรวจวัดสภาพอากาศโดยใช้เทคโนโลยีไอโอที เพื่อสนับสนุนการเพาะปลูกอโวคาโดมูลค่าสูงในพื้นที่จังหวัดตาก
23. โครงการการพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อเก็บรักษาอะโวคาโดระหว่างการขนส่งจากเศษเหลือใช้ทางการเกษตร
24. โครงการการถ่ายทอดองค์ความรู้การเพิ่มมูลค่าเชอรี่กาแฟ (Coffee Cherry) ในกระบวนการผลิตเบียร์คราฟต์ (Craft Beer) สู่ชุมชน
25. โครงการการพัฒนาเครื่องสกัดเย็นน้ำมันกัญชง
26. โครงการสำรวจความต้องการด้านวิจัยและบริการวิชาการ เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยี และข้อมูลพื้นฐานเพื่อวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมกับชุมชน
27. โครงการการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเพาะเลี้ยงกบบนพื้นที่สูง ต.ภูฟ้า อ.บ่อเกลือ จ.น่าน
28. โครงการส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากปลาท้องถิ่นโดยชุมชนมีส่วนร่วม ต.อวน อ.ปัว จ.น่าน
29. โครงการการเพิ่มมูลค่ากาแฟอาราบิก้าไทยลั๊วะหกบ้านบนขุนน่านด้วยกระบวนการหมักจุลินทรีย์สู่ผลิตภัณฑ์เชิงพาณิชย์
.
ออกแบบและพัฒนาโดย สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา