โลโก้เว็บไซต์ เชิญเข้าร่วม การอบรมเชิงปฏิบัติการโลหะวิทยากายภาพการเชื่อมซ่อมชิ้นส่วนเหล็กกล้าคาร์บอนและเหล็กกล้าฮาร์ดฟิวต์ในงานอุตสาหกรรม | สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน

เชิญเข้าร่วม การอบรมเชิงปฏิบัติการโลหะวิทยากายภาพการเชื่อมซ่อมชิ้นส่วนเหล็กกล้าคาร์บอนและเหล็กกล้าฮาร์ดฟิวต์ในงานอุตสาหกรรม

เผยแพร่เมื่อ : พุธ 7 สิงหาคม 2562 โดย รัตนาภรณ์ สารภี จำนวนผู้เข้าชม 4923 คน

ยังไม่มีคะแนนสำหรับบทความนี้ ผู้อ่านสามารถให้คะแนนบทความได้จากปุ่มข้างใต้

สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่ จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการโลหะวิทยากายภาพการเชื่อมซ่อมชิ้นส่วนเหล็กกล้าคาร์บอนและเหล็กกล้าฮาร์ดฟิวต์ในงานอุตสาหกรรม ระหว่างวันที่ 22-26 สิงหาคม 2562 ณ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่ 

 

ตารางการอบรมเชิงปฏิบัติการ

วันที่

เวลา 9.00 - 12.00 น.

เวลา 13.00 - 17.00 น.

22/8/62

 

1

 

7.30-8.30 น. ลงทะเบียนการอบรมเชิงปฏิบัติการฯ

8.30-9.00 น. พิธีเปิดการอบรมฯ (ผู้บริหาร)

  • บรรยาย : พื้นฐานของวัสดุวิศวกรรม
  • บรรยาย : การแข็งตัวของโลหะ/การแพร่ในของแข็ง

 (ผศ.ดร. ภาคภูมิ จารุภูมิ)

  • อภิปราย : เหล็กกล้าคาร์บอนและเหล็กกล้าผสม  
  • อภิปราย : พื้นฐานโลหะวิทยาในอุตสาหกรรม
  • แบ่งกลุ่มปฏิบัติ : เตรียมเครื่องมือ-อุปกรณ์การเชื่อม
  • แบ่งกลุ่มปฏิบัติ : เตรียมชิ้นงานสำหรับฝึกเชื่อมพอก

(ผศ.ดร.แมน ตุ้ยแพร่/อาจารย์กนต์ธีร์ สุขตากจันทร์)

23/8/62

 

2

 

  • บรรยาย : การผลิตและการควบคุมคุณภาพเหล็กกล้าผสมและเหล็กกล้าฮาร์ดฟิวต์ (รางรถไฟ ลูกรีด-ตี-บด  ฟันบุ้งกี๋รถแมคโคร-ชิ้นส่วนฯ)
  • บรรยาย : อิทธิพลทางความร้อนต่อคุณสมบัติของเหล็กกล้าผสมและเหล็กกล้าฮาร์ดฟิวต์ (TTT diagram, heat treatment, hardening, Jominy test)                      

(รศ.ดร.สันติรัฐ นันสะอาง)

  • อภิปราย : กระบวนการและวิธีการซ่อมบำรุงชิ้นส่วนที่ทำจากเหล็กกล้าคาร์บอนและเหล็กกล้าฮาร์ดฟิวต์
  • แบ่งกลุ่มปฏิบัติการ : การทดสอบความสามารถในการชุบแข็งเหล็กกล้าด้วยวิธีของ Jominy (แบ่งเป็น 5 กลุ่ม)                                      

(รศ.ดร.สันติรัฐ นันสะอางและคุณกฤษณะ  ดีศรีศักดิ์)

24/8/62

 

 

3

 

  • อภิปราย : วิศวกรรมการเชื่อม
    (กระบวนการเชื่อม/โลหะวิทยาในงานเชื่อม/การทดสอบรอยเชื่อม/การออกแบบและการประกันคุณภาพรอยเชื่อม )
    : WPS)
    : Code and Standard

(คุณนรินทร์ อินต๊ะวงค์ และ คุณกฤษณะ  ดีศรีศักดิ์)

  • อภิปราย : กระบวนการเชื่อมแบบ SMAW
  • แบ่งกลุ่มปฏิบัติการ : การเชื่อมแบบ SMAW สำหรับการซ่อมบำรุงชิ้นส่วนที่ทำจากเหล็กกล้าคาร์บอนและเหล็กกล้าฮาร์ดฟิวต์ (แบ่งเป็น 5 กลุ่ม)

 

(คุณนรินทร์ อินต๊ะวงค์  อาจารย์สราวุธ  เชาวการกูลและคุณกฤษณะ   ดีศรีศักดิ์)

25/8/62

 

 

4

 

  • อภิปราย : กระบวนการเชื่อมแบบ FCAW 
    (วิทยากรจากภาคเอกชน คุณนรินทร์ อินต๊ะวงค์)
  • แบ่งกลุ่มปฏิบัติการ : การเชื่อมแบบ FCAW สำหรับการซ่อมบำรุงชิ้นส่วนที่ทำจากเหล็กกล้าคาร์บอนและเหล็กกล้าฮาร์ดฟิวต์ (แบ่งเป็น 5 กลุ่ม)


(คุณฤษณะ ดีศรีศักดิ์ คุณนรินทร์ อินต๊ะวงค์ อาจารย์กนต์ธีร์ สุขตากจันทร์)

  • อภิปราย: ศึกษาและดูงาน ณ  ศูนย์บำรุงทางภาคเหนือ จังหวัดลำปาง
  • อภิปราย: การปฏิบัติงานการซ่อมบำรุงทางรถไฟ

 

(นายรังสรรค์  เปลี่ยนเฉย และ ว่าที่ร.ต.จรัสพงษ์  ไพยราช)

26/8/62

 

 

5

  • อภิปราย : การทดสอบรอยเชื่อมแบบไม่ทำลาย แบบ UT/PT/MT
  • อภิปราย : การทดสอบรอยเชื่อมแบบทำลาย แบบ Macro structure, hardness test.
  • แบ่งกลุ่มปฏิบัติการ : การทดสอบรอยเชื่อมแบบไม่ทำลายและแบบทำลาย (แบ่งเป็น 5 กลุ่ม)
 (อาจารย์อภิชาติ ชัยกลาง, รศ.ดร. นเรศ อินต๊ะวงค์/ผศ. วัชรากร ชัยวัฒนิพัฒน์)
  • แบ่งกลุ่มปฏิบัติการ : การทดสอบรอยเชื่อมเหล็กกล้าคาร์บอนและเหล็กกล้าฮาร์ดฟิวต์ แบบไม่ทำลายและแบบทำลาย (แบ่งเป็น 5 กลุ่ม) ต่อ
  • discussion และ สรุปการอบรมเชิงปฏิบัติการฯ

16.00 น.- 17.00 น.  ปิดโครงการอบรมฯ

 

(รศ.ดร. สันติรัฐ นันสะอาง/อาจารย์นริศ อินต๊ะวงค์และ ผศ. ดร. แมน ตุ้ยแพร่)

 

ทีมวิทยากรภาคบรรยายและภาคปฏิบัติ

  1. รศ.ดร. สันติรัฐ นันสะอาง  วิทยากรจาก มจธ.
  2. คุณนรินทร์ อินต๊ะวงค์  วิทยากรผู้เชี่ยวชาญจากภาคเอกชนและอาจารย์พิเศษ
  3. คุณกฤษณะ   ดีศรีศักดิ์  วิทยากรผู้เชี่ยวชาญจากภาคเอกชนและอาจารย์พิเศษ
  4. นายรังสรรค์  เปลี่ยนเฉย   หัวหน้ากองเทคนิคบำรุงราง ศูนย์บำรุงทางภาคเหนือ
  5. ว่าที่ ร.ต.จรัสพงษ์ ไพยราช วิศวกรการรถไฟแห่งประเทศไทย
  6. รศ.ดร. นเรศ อินต๊ะวงค์  วิทยากรจาก มทร. ล้านนา
  7. ผศ.ดร. แมน ตุ้ยแพร่  วิทยากรจาก มทร. ล้านนา
  8. ผศ.ดร. ภาคภูมิ จารุภูมิ  วิทยากรจาก มทร. ล้านนา
  9. ผศ. วัชรากร ชัยวัฒนิพัฒน์ วิทยากรจาก มทร. ล้านนา
  10. อาจารย์อภิชาติ ชัยกลาง  วิทยากรจาก มทร. ล้านนา
  11. อาจารย์สราวุธ  เชาวการกูล วิทยากรจาก มทร. ล้านนา
  12. อาจารย์กนต์ธีร์ สุขตากจันทร์ วิทยากรจาก มทร. ล้านนา
  13. อาจารย์นริศ อินต๊ะวงค์  วิทยากรจาก มทร. ล้านนา
     

กลุ่มผู้เข้าอบรม

  1. ศิษย์เก่า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (มทร.ล.)
  2. นักศึกษาปัจจุบัน (มทร.ล้านนา) ชั้นปีที่ 3 - 4
  3. บุคลกรภายใน มทร.ล้านนา และบุคลกรทางการศึกษาอาชีวะศึกษา
  4. บุคคลภายนอกและผู้สนใจ 

 

รับจำนวน 30 ท่าน เท่านั้น

 

** หมายเหตุ  สำหรับศิษย์เก่าและบุคลากรภายนอกฯ ขอสงวนสิทธิ์ตามลำดับการติดต่อและการคัดเลือกจากโครงการอบรมฯ

 

ผู้สนใจแจ้งความประสงค์และติดต่อ ได้ที่

สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา โทรศัพท์ 053-921444- ต่อ 2340
E-mail: Tman@rmutl.ac.th หรือ 
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.แมน ตุ้ยแพร่ 081-9607046 (ประสานงาน)  






ออกแบบและพัฒนาโดย สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

Facebook Messenger icon