เผยแพร่เมื่อ : ศุกร์ 27 สิงหาคม 2564 โดย รัตนาภรณ์ สารภี จำนวนผู้เข้าชม 2815 คน
คลังความรู้ชุมชน เปิดกรุองค์ความรู้ มทร.ล้านนา สู่การใช้ประโยชน์
โดย สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ปี 2556
จำนวน 153 หน้า
เกี่ยวกับหนังสือ
หนังสือเรื่อง "คลังความรู้ชุมชน เปิดกรุองค์ความรู้ มทร.ล้านนา สู่การใช้ประโยชน์" เล่มนี้ ถ่ายทอดองค์ความรู้จากการบูรณาการศาสตร์งานวิจัยและงานบริการวิชาการร่วมกับการเรียนการสอนจากคณาจารย์ ผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ครอบคลุมสาขาวิชาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร วิศวกรรมศาสตร์ บริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ตลอดจนศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ และนำไปประยุกต์ต่อยอดใช้ในกิจการหรือชีวิตประจำวันอย่างสัมฤทธิผล เพื่อพัฒนาชุมชนอย่างเป็นระบบและมีส่วนร่วม
" การถ่ายทอดเทคโนโลยีองค์ความรู้จากงานวิจัย เพื่อนำไปประยุกต์ใช้และปฏิบัติได้จริงของชุมชน เพื่อเป็นการพัฒนาชุมชนและสังคมอย่างยั่งยืนสืบไป "
คลังความรู้ชุมชน เปิดกรุองค์ความรู้ มทร.ล้านนา สู่การใช้ประโยชน์ [pdf]
สามารถอ่านหนังสือ แบบออนไลน์ได้ที่ URL ต่อไปนี้
1-ประวัติความเป็นมา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
2 ประวัติความเป็นมา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
4 ประวัติความเป็นมา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่
6 ประวัติความเป็นมา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เขตพื้นที่เชียงราย
8 ประวัติความเป็นมา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เขตพื้นที่น่าน
10 ประวัติความเป็นมา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เขตพื้นที่พิษณุโลก
12 ประวัติความเป็นมา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เขตพื้นที่ตาก
14 ประวัติความเป็นมา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เขตพื้นที่ลำปาง
16 ประวัติความเป็นมา สถาบันวิจัยเทคโนโลยีการเกษตร
20 การศึกษาปัจจัยแวดล้อมที่มีผลสัมฤทธิ์ต่อความสนใจเรียนวิชาเครือข่ายคอมพิวเตอร์
22 การศึกษาผลการจัดการเรียนการสอนวิชา มัคคุเทศก์ 1 : กรณีศึกษา นักศึกษาหลักสูตรวิชาการท่องเที่ยว
24 การศึกษาศักยภาพในการดำรงชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาการจัดการเรียน ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์
28 การพัฒนาระบบจองห้องเรียนผ่านอินเทอร์เน็ต คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์
30 การปรับปรุงคุณภาพน้ำประปาในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา วิทยาเขตภาคพายัพ
32 การศึกษาแนวทางปรับปรุงการให้บริการห้องสมุด
34 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
36 แนวทางการพัฒนาการแพทย์พื้นบ้านไทเขินในจังหวัดเชียงใหม่
39 รูปแบบการปลูกฝังวินัย การปฏิบัติตามกฎจราจรของนักศึกษา
44 การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน
46 การจัดการความอุดมสมบูรณ์ของดินในการปลูกสับปะรด
48 การใช้ขนมปังเป็นแหล่งพลังงานในสูตรอาหารไก่
50 การใช้ปุ๋ยชีวภาพฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของยอดชาอู่หลง
53 การถ่ายทอดเทคโนโลยีผลิตส้มเกลี้ยงคุณภาพดีเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นแบบยั่งยืน
55 การทำเต้าเจี้ยว
57 การบริหารแมลงศัตรูส้มด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น
60 การผลิตสับปะรดเพื่ออุตสาหกรรมในชุมชน กรณีศึกษา อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก
62 การพัฒนาคุณภาพผักเชียงดา เพื่ออุตสาหกรรมการแปรรูป
64 การเพาะเลี้ยงแหนแดง
66 การเพาะเห็ดโคนน้อย เห็ดฟาง ในกระถางที่มีส่วนผสมของผักตบชวา ฟางข้าว กับการใช้น้ำส้มควันไม้ในระยะการเจริญเป็นดอกเห็ด
70 การวิจัยและพัฒนาระบบการผลิตสับปะรดเพื่อรับรองมาตรฐานฟาร์ม
74 การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
76 การพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการจัดการผลิตส้มเกลี้ยงที่ยั่งยืน
79 การศึกษาลักษณะทางสรีรวิทยาและการจัดการน้ำและธาตุอาหารของสบู่ดำอย่างมีประสิทธิภาพ
82 ครีมพอก/ขัดหน้าสูตรมะขาม
84 คุกกี้ผักหวานป่า
86 โครงการทดลองปลูกงาอินทรีย์ในพื้นที่ศูนย์พัฒนาพันธุ์พืชจักรพันธ์เพ็ญศิริ
89 ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของพริกชี้ฟ้าและผลิตภัณฑ์จากพริกชี้ฟ้า
91 ผลของการจัดแต่งทรงต้น การตัดแต่งกิ่ง และการติดผลที่มีต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของส้มเกลี้ยง
95 เมล็ดพันธุ์ถั่วเหลือง
97 โรคพริกชี้ฟ้าและการป้องกันกำจัด
100 การศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพและชีวภาพน้ำมันทอดใช้แล้วในจังหวัดลำปาง เพื่อนำไปผลิตไบโอดีเซล
101 เครื่องปั้นเม็ดปุ๋ยชีวภาพแบบจานสำหรับครัวเรือน
104 การออกแบบและสร้างเตาเผาแกลบแบบไซโคลนขนาดเล็กใช้รวมกับเตาอบลำไยแบบไต้หวัน
106 พัฒนาเครื่องรบกวนระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบรังผึ้งชนิดพกพา
108 ระบบสำรองข้อมูลทางอินเตอร์แบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟสบนระบบปฏิบัติการโอเพนซอร์ซ
112 การพัฒนาเส้นด้ายผสมด้วยเส้นใยฝ้ายและเส้นใยขนแกะ
114 กรณีศึกษาจิตรกรรมฝาผนังล้านนาวัดพระสิงห์จังหวัดเชียงใหม่
115 การพัฒนาผลิตภัณฑ์สิ่งทอกลุ่มทอผ้าบ้านดอยแก้ว ตำบลดอยแก้ว อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่
120 โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตของหมู่บ้าน/ชุมชน แบบมีส่วนร่วม
123 ก๊าซชีวภาพมูลไก่
127 การจัดการขยะชุมชน
131 เครื่องปั้นดินเผา หมู่บ้านหัตถกรรม ต้นแบบ OTOP บ้านเหมืองกุง อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่
133 การท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านปง-ห้วยลาน ตำบลออนใต้ อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่
136 การบูรณาการยกระดับคุณภาพชีวิตบ้านดิน บ้านแม่โจ้ อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่
138 การยกระดับคุณภาพชีวิตของหมู่บ้าน บ้านม่อนแก้ว ตำบลพิชัย อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง
141 ชีวิตหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ระดับ “พออยู่ พอกิน” บ้านริมกวาง ตำบลบ้านกาด อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่
143 การยกระดับคุณภาพชีวิตครอบครัวผู้พิการบ้านวอแก้วแบบมีส่วนร่วม
145 หมู่บ้านเกษตรแปรรูปเชิงอนุรักษ์
147 การบริการวิชาการโดยชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม อำเภอลอง จังหวัดแพร่
149 พลังงานทดแทน
150 การสร้างชุมชนเรียนรู้เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนบ้านห้วยส้านดอนจั่น อย่างยั่งยืน
152 การพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเอง บ้านห้วยลอย ตำบลภูฟ้า อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน
ออกแบบและพัฒนาโดย สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา